6/18/2551

เรียนวันพุธที่ 18 มิถุนายน 2551

ออกข้อสอบ ปรนัย (พร้อมเฉลย) 10 ข้อ

1. mark 6 bit class A ได้กี่ subnet
a. 2^6 = 64 -2 =62
b. 2^6 = 32 -2 =30
c. 2^6 = 19- 2 =17
d. 2^6 = 24 -2 =22
ฉลย a

2. mark 4 bit class A ได้หมายเลขsubnetอะไร
a. 255.255.194.0
b. 255.194.132.0
c. 255.240.0.0
d. 255.255.255.0
เฉลย c

3. mark 5 bit class B ได้กี่ subnet
a. 2^5 = 25-2=23
b. 2^5 = 32-2=30
c. 2^5 = 45-2=43
d. 2^5 = 57-2=55
เฉลย b

4. mark 6 bit class A ได้เลขhostอะไร
a. 2^18=262144-2=262142
b. 2^21=2097152-2=2097150
C. 2^11=2048-2=2046
D. 2^20=1048576-2=1048574
เฉลย a

5. mark 4 bit class C ได้เล ขsubnetอะไร
a. 255.254.0.0
b. 255.255.255.254
c. 255.255.255.242
d. 255.192.142.0
เฉลย c

6. mark 2 bit class A ได้กี่subnet
a. 2^2 = 64 -2 =62
b. 2^2 = 32 -2 =30
c. 2^2 = 19- 2 =17
d. 2^2 = 4 - 2 =2
เฉลย d

7.mart 5 bit ได้กี่ Subnet ของ Class C
a. 2^5 = 8 - 2 = 6
b. 2^5 = 32 -2 = 30
c. 2^3 = 8 - 2 = 6
d. 2^3 = 10 -2 = 8
เฉลย b

8.mart 4 bit ได้กี่ Host ของ Class A
a.2^4 = 16 - 2 = 14 Host
b.2^4 = 8 - 2 = 6 Host
c.2^20 = 1048576 - 2 = 1048574 Host
d.2^20 = 1048426 - 2 = 1048424 Host
เฉลย c

9. mark 3 bit ได้กี่ Host ของ Class B
a.2^3 = 8 - 2 = 6 Host
b.2^3 = 6 - 2 = 4 Host
c.2^13 = 26 -2 = 24 Host
d.2^13 = 8192 - 2 = 8190 Host
เฉลยd

10.mart 6 bit ได้กี่ Host ของ Class C
a.2^6 = 12 - 2 = 10 Host
b.2^2 = 4 - 2 = 2 Host
c.2^6 = 64 - 2 = 62 Host
d.2^3 = 6 -2 = 4 Host
เฉลย b

ออกข้อสอบ อัตนัย (พร้อมเฉลย) 10 ข้อ

1.mark 6 bit ของ Class B ได้กี่ Host
= 2^10 = 1024 - 2 = 1022 Host

2.mark 5 bit Class B หมายเลข Subnet อะไร
=255.255.248.0

3.mark 5 bit ของ Class A ได้กี่ Subnet
= 2^5 = 32 - 2 = 30 Subnet

4.mark 3 bit Class C หมายเลข subnet อะไร
=255.255.255.224

5.mark 7 bit ของ Class C ได้กี่ Subnet
=2^7 = 128 - 2 = 126 Subnet

6.mark 3 bit ของ Class C ได้กี่ Host
=2^5 = 32 -2 = 30 Host

7.mark 6 bit ของ Claass B ได้กี่ subnet
= 2^6 = 64 - 2 = 62 Subnet

8.mark 6 bit Class A หมายเลข Subnet อะไร
=255.252.0

9.mark 5 bit ของ Class A ได้กี่ Host
= 2^19 = 524288 - 2 = 524286 Host

10.mark 6 bit Class A หมายเลข Subnet อะไร
=255.252.0.0



Ethernet

ความหมายของIEEE 802.3


IEEE 802.3 หรือ อีเทอร์เน็ต (Ethernet) เป็นเครือข่ายที่มีความเร็วสูงการส่งข้อมูล 10 เมกะบิตต่อวินาที สถานีในเครือข่ายอาจมีโทโปโลยีแบบัสหรือแบบดาว IEEE ได้กำหนดมาตรฐานอีเทอร์เน็ตซึ่งทำงานที่ความเร็ว 10 เมกะบิตต่อวินาทีไว้หลายประเภทตามชนิดสายสัญญาณ เช่น
• 10Base5 อีเทอร์เน็ตโทโปโลยีแบบบัสซึ่งใช้สายโคแอกเชียลแบบหนา (Thick Ethernet)ความยาวของสายในเซกเมนต์หนึ่ง ๆ ไม่เกิน 500 เมตร• 10Base2 อีเทอร์เน็ตโทโปโลยีแบบบัสซึ่งใช้สายโคแอ๊กเชียลแบบบาง (Thin Ethernet) ความยาวของสายในเซกเมนต์หนึ่ง ๆ ไม่เกิน 185 เมตร• 10BaseT อีเทอร์เน็ตโทโปโลยีแบบดาวซึ่งใช้ฮับเป็นศูนย์กลาง สถานีและฮับเชื่อมด้วยสายยูทีพี (Unshield Twisted Pair) ด้วยความยาวไม่เกิน 100 เมตร


คำว่า “Base” หมายถึงสัญญาณชนิด “Base” รหัสถัดมาหากเป็นตัวเลข หมายถึง ความยาวสายต่อเซกเมนต์ในหน่วยหนึ่งร้อยเมตร (5=500, 2 แทนค่า 185) หากเป็นอักษร จะหมายถึงชนิดของสาย เช่น T คือ Twisted pair หรือ F คือ Fiber optics


ส่วนมาตรฐานอีเทอร์เน็ตความเร็ว 100 เมกกะบิตต่อวินาทีที่นิยมใช้ในปัจจุบันได้แก่ 100BaseTX และ 100BaseFX สำหรับอีเทอร์เน็ตความเร็วสูงแบบกิกะบิตอีเทอร์เน็ตเริ่มแพร่หลายมากขึ้น ตัวอย่างของมาตรฐานกิกะบิตอีเทอร์เน็ตในปัจจุบันได้แก่ 100BaseT, 100BaseLX และ 100BaseSX เป็นต้น


อีเทอร์เน็ตใช้โปรโตคอล ซีเอสเอ็มเอ/ซีดี (CSMA/CD : Carrier Sense Multiple Access with Collision Detection) เป็นตัวกำหนดขั้นตอนให้สถานีเข้าครอบครองสายสัญญาณ ในขณะเวลาหนึ่งจะมีเพียงสถานีเดียวที่เข้าครองสายสัญญาณเพื่อส่งข้อมูล สถานีที่ต้องการส่งข้อมูลต้องการตรวจสอบสายสัญญาณว่ามีสถานีอื่นใช้สายอยู่หรือไม่ ถ้าสายสัญญาณว่างก็ส่งข้อมูลได้ทันที หากไม่ว่างก็ต้องคอยจนกว่าสายสัญญาณว่างจึงจะส่งข้อมูลได้ ขณะที่สถานีหนึ่ง ๆ กำลังส่งข้อมูลก็ต้องตรวจสอบสายสัญญาณไปพร้อมกันด้วยเพื่อตรวจว่าในจังหวะเวลาที่ใกล้เคียงกันนั้นมีสถานีอื่นซึ่งพบสายสัญญาณว่างและส่งข้อมูลมาหรือไม่ หากเกิดกรณีเช่นนี้ขึ้นแล้ว ข้อมูลจากทั้งสองสถานีจะผสมกันหรือเรียกว่า การชนกัน (Collision) และนำไปใช้ไม่ได้ สถานีจะต้องหยุดส่งและสุ่มหาเวลาเพื่อเข้าใช้สายสัญญาณใหม่ ในเครือข่ายอีเทอร์เน็ตที่มีสถานีจำนวนมากมักพบว่าการทานจะล่าช้าเพราะแต่ละสถานีพยายามยึดช่องสัญญาณเพื่อส่งข้อมูลและเกิดการชนกันเกือบตลอดเวลา โดยไม่สามารถกำหนดว่าสถานีใดจะได้ใช้สายสัญญาณเมื่อเวลาใด อีเทอร์เน็ตจึงไม่มีเหมาะกับการใช้งานในระบบจริง

ไม่มีความคิดเห็น: